วันอาทิตย์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2555

สาระการเรียนรู้
สาระที่   ภาษาเพื่อการสื่อสาร

มาตรฐาน ต ๑.     เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ  และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล

มาตรฐาน .     มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน .     นำเสนอข้อมูลข่าวสาร  ความคิดรวบยอด  และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน
สาระที่  ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน .    เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน .   เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กับภาษาและวัฒนธรรมไทย
และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่  ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน .     ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา  แสวงหาความรู้  และเปิดโลกทัศน์ของตน
สาระที่  ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน .     ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน .    ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ   การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

      1.คำสั่ง  คำขอร้อง ภาษาท่าทาง  และคำแนะนำในการเล่นเกม การวาดภาพ การทำอาหารและเครื่องดื่ม และการประดิษฐ์ 
-   คำสั่ง เช่น Look at the…/here/over there./ Say it
again./ Read and draw./ Put a/an…in/on/under  a/an…/
Don’t go over there.      etc.
-   คำขอร้อง เช่น Please look up the meaning in a
dictionary./ Look up the meaning in a dictionary, please./ Can/Could you help me, please?   etc.
-   คำแนะนำ เช่น You should read everyday./ Think before you speak./ คำศัพท์ที่ใช้ในการเล่นเกม Start./ My turn./ Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish./คำบอกลำดับขั้นตอน First,… Second,… Next,… Then,… Finally,…         etc.    



     2.ข้อความ  นิทาน  และบทกลอน  การใช้พจนานุกรม หลักการอ่านออกเสียง เช่น
-   การออกเสียงพยัญชนะต้นคำและพยัญชนะท้ายคำ
-   การออกเสียงเน้นหนัก-เบา ในคำและกลุ่มคำ
  - การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ต่ำ ในประโยค
-   การออกเสียงเชื่อมโยง (linking sound) ในข้อความ
-   การออกเสียงบทกลอนตามจังหวะ



     3.ประโยค หรือข้อความ  สัญลักษณ์  เครื่องหมาย และความหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย และลมฟ้าอากาศ และเป็นวงคำศัพท์สะสมประมาณ ๑,๐๕๐-,๒๐๐ คำ (คำศัพท์ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม)

ประโยค บทสนทนา นิทาน หรือเรื่องเล่าคำถามเกี่ยวกับใจความสำคัญของเรื่อง เช่น  ใครทำอะไร  ที่ไหน  เมื่อไร อย่างไร ทำไม
- Yes/No Question เช่น 
   Is/Are/Can…?          Yes,…is/are/can./ 
                                     No,…isn’t/aren’t/can’t.
   Do/Does/Can/Is/Are...?     Yes/No…          etc. 
- Wh-Question เช่น  
   Who is/are…?            He/She is…/They are…
   What…?/Where…?  It is …/They are…
   What...doing?           …is/am/are…       etc.   
- Or-Question เช่น  
   Is this/it a/an...or a/an…?   It is a/an…     
   Is/Are/Was/Were/Did…or…?             etc.   เช่น  
   Is this/it a/an...or a/an…?   It is a/an…     
   Is/Are/Was/Were/Did…or…?             etc.